แนวคิดยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG Economy อันชาญฉลาดของประเทศไทย สามารถสร้างความยอมรับในระดับ นานาชาติได้อย่างรวดเร็ว เป็นการผนวกความได้เปรียบในเชิงภูมิศาสตร์ แต่งแต้มด้วยวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อเป็นคำตอบในการช่วย ควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้สูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส จากยุคก่อน จึงเกิดมาเป็นธุรกิจที่น่าสนใจมากมาย จะขอยกตัวอย่าง 10 นวัตกรรม ที่เข้าสู่วงจรด้านธุรกิจแล้ว ดังนี้

อียูเตรียมออกกฎหมายบรรจุภัณฑ์และขยะบรรจุภัณฑ์ เน้น 3R – Reduce, Reuse, Recycle

สตาร์ตอัปจากประเทศชิลี กำลังคิดค้นวิธีการรีไซเคิลยางรถยนต์เก่าที่ใช้แล้ว แปรรูปให้กลายเป็นวัสดุสำหรับทำแบตเตอรี่รถยนต์พลังงานไฟฟ้า หวังเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยแก้ปัญหาขยะ และเพิ่มช่องทางการผลิตแบตเตอรี่ที่ยั่งยืนขึ้น

No photo description available.

GC x CPN ผนึกกำลัง Green Partnership เปิด “เซ็นทรัล เวสต์วิลล์” ต้นแบบศูนย์การค้ารักษ์โลก “Low Carbon Mall”
ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในแบบ Zero Waste Lifestyle ส่งต่อแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน “เทิร์นพลาสติกใช้แล้ว” สู่ผลิตภัณฑ์รักษ์โลก

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

บพข. ร่วมมือ UNDP, CIRAC, Global R&D ทีมวิจัยจุฬาฯ และชุมชนวัดจากแดง แก้ปัญหาขยะถุงวิบวับอย่างยั่งยืน ด้วยเครื่องจักรไพโรไลซิสแบบต่อเนื่อง รีไซเคิลอะลูมิเนียมและพลาสติกใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ♻️

No photo description available.

รื่องจริงคาร์บอนเครดิต สามารถรับชม 🔴 Facebook Live งานสัมมนา เรื่องจริง “คาร์บอนเครดิต” ได้ที่ : https://fb.watch/ovL4f3__9-/?mibextid=CiQNtE
.
 

ปตท.-GPSC-Nuovo Plus ผนึก TES ศึกษาความเป็นไปได้การลงทุนตั้งโรงงานรีไซเคิลแบตเตอรี่ในไทย รุกธุรกิจแบตเตอรี่ครบวงจรกลุ่ม ปตท.

มหาวิทยาลัยไรซ์ (Rice University) จากสหรัฐอเมริกา พัฒนากระบวนการ “แฟลช จูล ฮีตทิง” (Flash joule heating) ที่สามารถเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นกราฟีนและพลังงานสะอาดจากไฮโดรเจน

อินโดรามา เวนเจอร์ส ตั้งเป้า ปี 2573 รีไซเคิลพลาสติกให้ได้ปีละ 1 แสนล้านขวด มุ่งเดินหน้าลงทุนในการรีไซเคิลขั้นสูง วัตถุดิบตั้งต้นจากชีวภาพ และการร่วมมือกับสตาร์ทอัพด้านความยั่งยืนหลากหลายแห่ง